Skip to main content

สุขภาพ​ปี​2562

 

Total​ Cholesterol : 180-250 mg/dL สามารถขึ้นไปสูงถึง 300 mg/dL ได้ ถ้ามีค่าอัตราส่วน LDL/HDL และ TG/HDL ที่เหมาะสม

HDL-Cholesterol : 50-80 mg/dL

 อัตราส่วน LDL/HDL : 3 ต่อ 1 หรือน้อยกว่า​   อัตราส่วน TG/HDL : 2 ต่อ 1 หรือน้อยกว่า​       (ถ้า​ HDL มากกว่า TG นี่เยี่ยมมาก)

🌹​2565

🥀​  ผ่านิ่วในไต.​  7​ กรกฎาคม​ 65
       หมอเกรียงชัย​   หัวเฉียว

 🌷​Abnormal ECG.... 
       RSR  or  QR  pettern in  V1
       suggests right ventricular conduction delay
       T wave  abnormal 
      consider anterior ischemia

       22​/06/2022​ 8:30  
       Hemoglobin 13.5-17.5 : 10.​6 ต่ำ
      Hematocrit 41-53 : 32 ต่ำ
      WBC Count 4.5-11 : 4.0 ต่ำ
      RBC Count 4.7-6 : 3.4 ต่ำ
      MCH   27-31  :  3.1   สูง
       (โรคโลหิตจาง..)​

 🥀​  วันที่ 21/12/21
       เต็กมาตรวจส่องกล้อง
       พบเนื้องอก ขนาดเล็ก บริเวณปลายลำไส้ใหญ่
       CEA​ = 2.5​, อุจจาระ​เป็นเลือด... 





Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) 
 เป็นกลุ่มยาต้านโรคซึมเศร้าที่ถูกสั่งใช้อย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะในรายที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามาเป็นระยะเวลานาน และโดยมากจะใช้ร่วมกับการรักษาประเภทที่ไม่ใช้ยา เช่น การพูดคุย ปรับตัวปรับพฤติกรรม เป็นต้น

ยากลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) จะเป็นยาตัวเลือกแรกที่ใช้ในการรักษาโรคซึมเศร้า เพราะยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงต่ำ เมื่อเทียบกับยากลุ่มอื่น แต่นอกจากโรคซึมเศร้า ยากลุ่มนี้ยังสามารถใช้รักษาอื่นได้ ดังนี้

1. โรคกังวลทั่วไป
 (generalized anxiety disorder, GAD)
2. โรคย้ำคิดย้ำทำ
 (Obsessive-Compulsive Disorder, OCD)
3. โรคแพนิค
 (Panic Disorder) หรือ โรคตื่นตระหนก
4. โรคกลัว (Phobias) เช่น โรคกลัวที่แคบ กลัวสังคม เป็นต้น
5. โรคบูลิเมียหรือโรคล้วงคอ (bulimia)
6. โรคเครียดจากเหตุการณ์ร้ายแรง
(Post-traumatic stress disorder, PTSD)
7.​ โรคลำไส้แปรปรวน
 (Irritable Bowel Syndrome)
ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น

ยาฟลูออกซิทีน
ยาเซอร์ทราลีน
ยาเอสซิตาโลแพรม
ยาไซตาโลแพรม
Serotonin antagonist
    เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์ต่อการทำงาน
ของเซโรโทนิน รีเซ็ปเตอร์ (Serotonin receptors หรือ 5-hydroxytryptamine receptors หรือย่อว่า 5-HT receptors ก็ได้) ซึ่งเป็นตัวรับสารสื่อประสาทที่พบอยู่ในสมองและตามปลายประสาทของร่างกาย สามารถแบ่งกลุ่มเซโรโทนิน แอนตาโกนิสต์ได้ดังต่อไปนี้

1. 5-HT2A antagonists มีการนำยาในกลุ่มนี้ไปรักษาไมเกรนและอาการทางจิตประสาท ตัวอย่างยาได้แก่ Methysergide, Quetiapine

2. 5-HT2A/2C antagonists ถูกนำไปใช้รักษาความดันโลหิตสูง อาการซึมเศร้า และอาการทางจิตประ สาท ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Ketanserin, Risperidone, Trazodone, Clozapine

3. 5-HT3 antagonists เป็นกลุ่มยาที่นำมาบำบัดอาการคลื่นไส้อาเจียนที่มีสาเหตุมาจากยาเคมีบำบัด หรือรังสีรักษา หรือหลังจากที่คนไข้เข้ารับการผ่าตัด ยาบางตัวในกลุ่มนี้ถูกนำมารักษาอาการโรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Dolasetron, Granisetron, Ondansetron, Palonosetron, Tropisetron, Alosetron, Cilansetron
โดยยาpalonosetron มีความสามารถในการจับกับ 5-HT3 receptor ได้มากกว่า 100 เท่า เมื่อเทียบกับยาชนิดอื่นๆ ในกลุ่มนี้ โดย palonosetron มีค่าครึ่งชีวิตของยาประมาณ 40 ชั่วโมง
4. Non-selective 5-HT antagonists เป็นกลุ่มยาที่นำมารักษาอาการปวดศีรษะ ไมเกรน เป็นยารักษาความดันโลหิตสูง รวมถึงรักษาอาการการทำงานของระบบประสาทผิดปกติ ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Methysergide, Chlorpromazine, Pizotifen, Oxetorone, Spiprone, Ritanserim, Parachlorophe nylalanine, Metergoline, Propranolol, Miansein

5. Serotonin anatagonists acting as antihistamines เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์ต้านสารฮีสตามีน(Histamine) มีฤทธิ์ลดอาการผื่นคัน อาการเมารถเมาเรือ ในบางคราวก็นำยาบางตัวมารักษาอาการปวดหัวไมเกรนด้วยเช่นกัน ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Carbinoxamine, Cyproheptadine, Methdi lazine, Promethazine, Pizotifen, Oxetorone


, Pizotifen, Oxetorone

Comments