หัวใจ(วิวัฒน์)
. ■ ทำ PCI หลอดเลิอดแดงหัวใจตีบ : หัวเฉียว
¤ ครั้งที่หนึ่ง : 23 กันยายน พ.ศ. 2559 rca
¤ ครั้งที่สอง : 28 ตุลาคม พ.ศ. 2559 lcx
¤ ครั้งที่สาม : 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 lad
● เส้นเลือดหัวใจมี 2 เส้น
ซ้าย LM แล้วแยกออก 2 กิ่ง LAD กับ LCx
ขวา RCA
1. LM : Left main coronary artery
2. LAD : Left anterior descending
3. LCx : Left circumflex artery
4. RCA : Rigrt coronary artery
หลอดเลือดแดง ความยาว เส้นผ่าศูนย์กลาง (จากต้นไปหาปลาย)
1. LM 10 mm. 4.5 (+/-0.5) mm. 2. LAD 100 mm. 3.7-1.9 (+/-0.4) mm.
3. LCx 60 mm. 4.2-3.4 (+/-0.6) mm.
4. RCA 100 mm. 3.9-2.8 (+/-0.5) mm
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
■ ผลจากการรักษาหลอดเลือดแดงหัวใจ -:
ของ วิวัฒน์ วัฒนาโสภณ
ใส่ขดลวด(stent)ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง × ความยาว
1. LM ปกติ
2. LAD 2.5 × 33 และ 2.25 × 23 mm. × mm.
3. LCx 3 × 8 และ 2.75 × 33 mm. × mm.
4. RCA 4 × 33 และ 2.75 × 33 mm. × mm.
===== %%%%% =====
● การกลับมาตีบตันของหลอดเลือดใหม่ -:
○ ผ่าตัดโดยใช้หลอดเลือดดำที่ขา :
มากกว่า 50 % ภายใน 10 ปี
○ ผ่าตัดโดยใช้หลอดเลือดแดงที่ทรวงอก :
10 - 20 % ภายใน 10 ปี
○ ใส่ขดลวด : 20 -30 %
○ ใส่ขดลวดเคลือบยา : 2 -5 % ภายใน 1 ปี
(หลังจากนั้น ปกติ)
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
● การขยายหลอดเลือดหัวใจ
ร่วมกับการใช้ขดลวดเคลือบยา
เป็นที่นิยมและยอมรับกันอย่างแพร่หลาย
เนื่องจากทำได้ง่ายและมีความเสี่ยงน้อยมาก
เมื่อเทียบกับการทำผ่าตัดบายพาส
ไม่ต้องพักฟื้นนาน และไม่เจ็บตัว
หรือมีแผลเป็นใหญ่โตอยู่กลางหน้าอก
ปัจจุบันนี้แนะนำว่า PCI เป็นวิธีที่ดี
ในการรักษา STEMI
หากทำได้ใน 3 – 12 ชม.หลังจากเริ่มมีอาการ
ทำเวลา door-to-balloon time
ได้ต่ำกว่า 90 นาที
● ข้อเสียของการทำบอลลูนขยายหลอดเลือด
ไม่ว่าจะใส่ขดลวดหรือไม่ก็คือ
ยังไม่สามารถทำได้ในผู้ป่วยทุกๆ ราย
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
● Cardiac reserve :
เปนความสามารถของหัวใจ
ในการเพิ่มการบีบตัว
เพื่อขับเลือดออกจากหัวใจให้
เพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย
◆ ในคนปกติ cardiac output
สามารถเพิ่มได้สูงกว่า 5 เท่า
ของ cardiac output
ขณะพักได้ ในภาวะที่ร่างกายจำเป็น เช่น
การออกกำลังกาย
◆ ในทางตรงกันข้าม
ผู้ที่เป็นโรคหัวใจจะมี
cardiac reserve
ขณะพักอยู่ในระดับที่ต่ํา
จึงทำใหหัวใจ
ไม่สามารถทนต่อการออกแรงได้
ทําให้เกิดหัวใจวาย ได้ง่าย (ตาย)
(กระแสไฟฟ้า short)
It represents atrial depolarisation
Duration: < 0.12 s
(<120ms or 3 small squares)
Morphology
Smooth contour :
Monophasic in lead II
Biphasic in V1
Axis
1. Normal P wave axis is between
0° and +75°
2. P waves should be upright in
leads I and II, inverted in aVR
Amplitude
< 2.5 mm (0.25mV) in the limb leads
< 1.5 mm (0.15mV) in the precordial leads
PR wave
- The normal PR interval is between 120 – 200 ms (0.12-0.20s) in duration (three to five small squares).
- If the PR interval is > 200 ms, first degree heart block is said to be present.
- PR interval < 120 ms suggests pre-excitation (the presence of an accessory pathway between the atria and ventricles) or AV nodal (junctional) rhythm.
● ตรวจ EKG ที่เจ้าพระยา : 3 ธ.ค. 2560
(เครื่องชัดเจนมาก รวมทั้ง wording ด้วย)
■ ต๋อย : Vent rate : 78 กลางปี (70)
PR int : 152 ms (135)
QRS dur : 91 (76)
QT / QTc : 368/402 ms (360/410)
P-R-T axes : 58 27 33 35 27 9
Avg RR : 762 ms 857
QTcB : 421 ms
QTcF : 402 ms
● ผิดปกติเล็กน้อย ใน T wave V3 ,V4 และ V5
ปกติ upright ใน lead1,2,V3,V4,V5 และ V6
inverted in aVR
variable in lead 3,aVL,aVF,V1,V2
(inverted T in V1,V2 พบได้บ่อย)
○ กลางปี ผิดปกติเล็กน้อย ใน T wave invert V3 และ V4
แต่วันนี้เพิ่ม V5 ครับ
แล้วแก่ขึ้นดูจากตัวเลขที่เพิ่มขึ้น เช่น QRS 76 เป็น 91
¤ 1.R in V5 or V6+S in V1(V2) >35mm (Sokolow & Lyon)
R in V6 = 17 , S in V2 = 13 รวม = 30 mm < 35 mm
5.R in aVL >11mm (8 mm)
==== ==== ==== ===== ====== =====
■ เต็ก : wave QRS ของ V4, V5, V6
มี R wave สูงมากๆ
● ผิดปกติเล็กน้อย หัวใจห้องล่างขวา "หนา"
ดูได้จาก V1 และ V2 ชัดใน V1 จะเห็น
QRS เป็นตัว M หรือ จริงคือ RSR
○ ปกติ wave V1 and V2
amplitude ของ R < S
แต่ของเต็ก R สูงกว่า S
เป็นการยืนยัน ห้องขวาบนหนา
● หัวใจห้องล่างซ้าย "หนา"
ดูได้จาก wave S ใน QRS ของ V1
บวกกับ R wave ใน QRS ของ V5
ต้องน้อยกว่า 35 mm
¤ R wave V5 ในแต่ละปี
2015 = 21
2016 = 28
2017 = 35
2018 = 25
2019 = 32
S wave ใน V1 และ V2 < 2
● T invert ใน V3 แต่เป็นรูปมน
ไม่สมมาตร ถือว่าดี
ถ้าสมมาตรแล้วอนาคตจะเข้าสู่ MI
¤ S ใน V1 = 1 mm, V2 = 2 mm และ V3 = 5 mm
R ใน V5 = 35 mm and V6 = 27 mm
¤ เข้าเกณฑ์ 2 ข้อ :
1. V5 + V2 = 37 mm > 35 mm
37 × 94 = 3478 > 3340 mm × ms
2. V5 and V6 > 26 mm
¤ สำหรับ Cornell voltage criterion-based LVH
was defined as
◆ RaVL+ SV3 ≥28 mm : 3 + 5 =8 × 94 = 752 mm × ms
< 2440 อยู่มาก
¿ ทำไม เกณฑ์ของ Sokolow-Lyon จึงต่างกับ Cornell มากนัก ?
===== ====== =======
¤ QRS2 Left ventricular hypertrophy
Criteria :
1.R in V5 or V6+S in V1(V2) >35mm (Sokolow & Lyon)
2.R in V5 or V6 >26mm
3.R in 1 + S in 3 >25mm
4.R + S in any V lead >45mm
5.R in aVL >11mm
6.R in aVF >20mm
7.R in aVL+S in V3 >28mm ในผู้ชาย > 20mm ในผู้หญิง(Cornell)
♡ สรุป : เรียกว่า Combined ventricular hypertrophy
คือว่า ขวาซ้ายล่าง
♤ การทดลอง Sokolow-Lyon เทียบกับ Cornell
Sokolow-Lyon voltage
criterion-based LVH
was defined as a composite of amplitudes
◆ (SV1 or V2 + RV5 or V6) ≥35 mm,
and the Cornell voltage
criterion-based LVH
was defined as
◆ RaVL+ SV3 ≥28 mm for men (2,3).
○ Sokolow-Lyon voltage ≥3,340 mm × ms,
and the Cornell product criterion-based LVH
was defined as QRS duration times
the corresponding Cornell voltage ≥2,440 mm × ms.
=======================
https://litfl.com/pr-interval-ecg-library/
ความผิดปกติของคลื่น R
- คลื่น R ที่โดดเด่นใน V1
- คลื่น R ที่โดดเด่นใน aVR
- ความคืบหน้าของคลื่น R แย่
Comments
Post a Comment